#สถานที่สอบ #พนักงานการเงิน ระดับ 4 ปีบัญชี 2558
ตารางเวลาในการสอบ พนักงานการเงิน ระดับ 4 ปีบัญชี 2558
วันที่สอบ เวลาที่สอบ วิชาที่สอบ สถานที่
21 ก.พ. 2559 09.00-10.30 น. #วิชาความรู้ความสามารถทั่วไป #มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
21 ก.พ. 2559 11.00-11.30 น. #วิชาความละเอียดแม่นยำ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
21 ก.พ. 2559 13.00-15.00 น. #วิชาความรู้เฉพาะตำแหน่ง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
21 ก.พ. 2559 15.30-16.30 น. #วิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ขอบเขตเนื้อหาในการสอบพนักงานการเงิน ระดับ 4 ปีบัญชี 2558
1. วิชาความรู้ความสามารถทั่วไป (Aptitude Test) ใช้เวลา 1.30 ชั่วโมง (100 คะแนน)
1.1 ความสามารถเชิงคณิตศาสตร์
1.2 การคิดวิเคราะห์และเหตุผล
1.3 ความสามารถทางด้านภาษาไทย
1.4 ความสามารถทางมิติสัมพันธ์
2. วิชาความรู้เฉพาะต าแหน่งพนักงานการเงิน ใช้เวลา 2.00 ชั่วโมง (100 คะแนน)
2.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการบัญชี (หมวดบัญชีการเงิน / หมวดบัญชีบริหาร)
2.2 ความรู้เกี่ยวกับการเงินการธนาคารและสินเชื่อเบื้องต้น (ตลาดการเงิน / ธุรกรรมการเงินและ
การธนาคาร / การบริหารการเงิน / ความรู้เกี่ยวกับสินเชื่อเบื้องต้น / ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน)
2.3 วิสัยทัศน์ / พันธกิจ และงานของ ธ.ก.ส.
2.4 ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
2.5 ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
2.6 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาชนบทและชุมชน
2.7 ความรู้เกี่ยวกับการตลาด
2.8 ความรู้ด้านหลักการบริหารเบื้องต้น
2.9 จริยธรรม/จรรยาบรรณ/ธรรมาภิบาล
3. วิชาภาษาอังกฤษ ใช้เวลา 1.00 ชั่วโมง (50 คะแนน)
4. วิชาความละเอียดแม่นย า ใช้เวลา 30 นาที (50 คะแนน)
ผู้เข้าสอบควรมาถึงสนามสอบเวลา 8.00 น. (พร้อมอยู่หน้าห้องสอบเวลา 8.30 น.)
1.1 ดินสอดำ 2B ขึ้นไป ยางลบ ทั้งนี้ผู้เข้าสอบต้องเตรียมดินสอให้เพียงพอต่อการเข้าสอบข้อเขียน
1.2 บัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรแสดงตนอื่น ๆ ที่มีรูปถ่ายซึ่งออกโดยส่วนงานราชการ และยังไม่หมดอายุ
1.3 ใบสมัครที่พิมพ์จากระบบ พร้อมติดรูปถ่าย (ภาพสี) หน้าตรงมีระยะเวลา ไม่เกิน 6 เดือน ขนาด 1x1.5 นิ้ว โดยสามารถพิมพ์
1.4 สำเนาพร้อมเอกสารตัวจริงในการเปลี่ยนชื่อ – สกุล (ถ้ามี)
2. ข้อปฏิบัติในการเข้าห้องสอบ
2.1 ห้าม นำกระเป๋าเครื่องเขียน กระเป๋าถือหรือกระเป๋าสัมภาระ เครื่องคำนวณทุกชนิด เครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด เข้าห้องสอบ
2.2 ห้าม นำนาฬิกาทุกชนิด เครื่องประดับทุกประเภทเข้าห้องสอบ ยกเว้น แว่นสายตา
3. ระเบียบการแต่งกายของผู้เข้าสอบ
2.3 ห้าม นำปากกา ดินสอกดทุกชนิด กบเหลาดินสอ เข้าห้องสอบ
3.1 ให้แต่งกายโดยสวมเสื้อยืดคอกลม/คอวี แขนสั้นหรือแขนยาว (ไม่มีกระดุม ไม่มีเครื่องประดับหรือวัสดุตกแต่งทุกชนิด
3.2 ห้าม สวมเสื้อสูท / เสื้อแจ็คเก็ต / เสื้อคลุมทุกชนิด / ผ้าคลุมทุกชนิด
3.3 ห้าม สวมรองเท้า/ถุงเท้าเข้าห้องสอบ
เพื่อความโปร่งใส และเป็นธรรมในการสอบข้อเขียน ผู้เข้าสอบต้องปฏิบัติตาม ข้อห้ามในการเข้าห้องสอบและระเบียบการแต่งกายของผู้เข้าสอบทุกประการ
และต้องศึกษารายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติมจากประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบข้อเขียน โดยธนาคารถือว่าผู้เข้าสอบข้อเขียนได้รับทราบข้อกำหนดต่างๆ
ในการเข้าห้องสอบตามประกาศของธนาคารแล้ว และยินยอมให้ธนาคารตรวจค้นเป็นการเฉพาะบุคคลได้ หากธนาคารมีข้อสงสัยที่คาดว่าอาจก่อให้เกิดการทุจริต
โดยผู้เข้าสอบจะอ้างสิทธิ์ใดๆ โต้แย้งมิได้ และกรรมการคุมสอบหรือผู้ประสานงานสอบสามารถพิจารณาให้เป็นผู้ไม่มีสิทธิ์สอบข้อเขียนทันที
แนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี
แนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)แนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
1. ข้อใด คือวิสัยทัศน์ของ ธ. ก. ส.
ก. เป็นธนาคารของชุมชน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทย
ข. เป็นธนาคารพัฒนาชุมชนเกษตรกรไทยอย่างถาวรและยั่งยืน
ค. เป็นธนาคารเพื่อการเกษตรที่พัฒนาสู่ระดับสากล เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรรายย่อย
ง. เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย
ตอบข้อ ง. วิสัยทัศน์ของ ธ. ก. ส. คือ “ เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย ”แนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
2. Payment Function คืออะไร
ก. หน้าที่รับฝากเงิน ข. หน้าที่จ่ายเงิน
ค. หน้าที่ให้กู้ยืม ง. หน้าที่ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
ตอบข้อ ข. “ หน้าที่จ่ายเงิน (Payment Function) หมายถึง การจ่ายคืนเงินแก่ผู้ฝาก ธนาคารพาณิชย์ที่รับฝากจากลูกค้าจะต้องเตรียมเงินส่วนหนึ่งไว้เพื่อการถอนคืนทุกขณะที่ลูกค้าต้องการด้วยการดำรงเงินสดสำรองไว้ ธนาคารพาณิชย์ที่สามารถจ่ายเงินคืนผู้คืนผู้ฝากได้ทุกครั้งนำมาซึ่งความเชื่อถือของผู้ฝากเงินซึ่งหมายถึงความไว้วางใจนำเงินฝากที่ธนาคารในอนาคต เพราะว่าธนาคารจะใหญ่ขึ้นหรือมีรายได้มากขึ้นเมื่อมีเงินฝากเพิ่มขึ้น เงินฝากจะเพิ่มขึ้นเมื่อธนาคารสามารถสร้างความเชื่อถือให้แก่ลูกค้าได้มากขึ้น ลูกค้าจะเชื่อถือธนาคารมากขึ้นเมื่อธนาคารมีหน้าที่การจ่ายคืนเงินฝากที่ดี ดังนั้น หน้าที่การจ่ายเงินที่ดีจะนำไปสู่ความมั่งคั่งแก่ธนาคารนั่นเอง ”
3. ข้อใด ไม่ใช่ ความหมายของ ธนาคารพาณิชย์
ก. ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ขึ้นตรงกับธนาคารแห่งประเทศไทย
ข. บริษัทมหาชนจำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ค. สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ง. ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อยแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
ตอบข้อ ก. ธนาคารพาณิชย์ หมายถึง บริษัทมหาชนจำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ และให้ความหมายรวมถึงธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย ธนาคารพาณิชย์ที่เป็นบริษัทลูกของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ และสาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์
4. ข้อใด มิใช่ หน้าที่ของธนาคารพาณิชย์
ก. รับฝากเงิน ข. หน้าที่จ่ายเงิน
ค. หน้าที่ให้กู้ยืมเงิน ง. หน้าที่ให้คำปรึกษาด้านการเงิน
ตอบข้อ ง. หน้าที่ของธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ 1. หน้าที่รับฝากเงิน 2. หน้าที่จ่ายเงิน 3. หน้าที่ให้กู้ยืมเงิน 4. หน้าที่ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
5. การฝากเงินประเภทกระแสรายวัน มีวัตถุประสงค์ตามข้อใด
ก. เพื่อความปลอดภัยในเงินฝาก
ข. เพื่อความสะดวกแก่ผู้ฝากเงินเมื่อต้องการจ่ายเงิน
ค. เพื่อก่อเกิดรายได้จากการรำเงินมาฝาก
ง. เพื่อช่วยให้การกู้ยืมเงินธนาคารง่ายขึ้น
ตอบข้อ ข. เพื่อสะดวกแก่ผู้ฝากเงินเมื่อต้องการจ่ายเงิน ผู้นำเงินฝากด้วยวัตถุประสงค์นี้มักฝากเงินประเภทกระแสรายวันที่จ่ายคืนด้วยเช็คแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
6. ธนาคารพาณิชย์มีแหล่งเงินได้กี่แหล่ง
ก. 2 แหล่ง ข. 3 แหล่ง
ค. 4 แหล่ง ง. 5 แหล่ง
ตอบข้อ ก. ธนาคารพาณิชย์มีแหล่งที่ได้มาของเงินใหญ่ๆ 2 แหล่ง คือ 1. ขากแหล่งเจ้าของ และ 2. จากแหล่งเจ้าหนี้ เงินที่ธนาคารพาณิชย์นำไปให้กู้ยืมหรือลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อก่อให้เกิดรายได้แก่ธนาคารส่วนใหญ่มาจากเงินฝาก เมือเงินฝากมีมากขึ้น ธนาคารสามารถนำไปหาผลประโยชน์ได้มากขึ้น ดังนั้น ธนาคารจะใหญ่ขึ้นเรื่องๆ เมื่อมีเงินฝากเพิ่มขึ้น
7. ข้อใด มิใช่ เหตุผลในการฝากเงินไว้กับธนาคาร
ก. เพื่อความสะดวกในการจ่ายเงิน
ข. เพื่อความปลอดภัยในเงินฝาก
ค. ใช้รายการบัญชีเงินฝากเป็นสถิติการรับ – จ่ายเงินของเจ้าของบัญชี
ง. ใช้รายการบัญชีเงินฝากเป็นหลักฐานเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ
ตอบข้อ ง. เหตุผลในการฝากเงินไว้กับธนาคารแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
1. เพื่อความสะดวกแก่ผู้ฝากในการจ่ายเงิน
2. เพื่อความปลอดภัยในเงินฝาก
3. เพื่อก่อให้เกิดรายได้จากการนำฝาก
4. เพื่อช่วยให้การกู้ยืมง่ายขึ้น
5. เพื่อใช้เป็นสถิติการรับ – จ่ายเงินของเจ้าของบัญชี
8. ข้อใด คือ เหตุผลในการฝากเงินประเภทเงินฝากประจำ
ก. เพื่อความปลอดภัยในเงินฝาก และความสะดวกในการจ่ายเงิน
ข. เพื่อก่อให้เกิดรายได้จากการนำฝาก และใช้เป็นสถิติการรับ – จ่ายเงิน
ค. เพื่อช่วยให้การกู้ยืมง่ายขึ้น และความสะดวกในการจ่ายเงิน
ง. เพื่อก่อให้เกิดรายได้ และความปลอดภัยในเงินฝาก
ตอบข้อ ง. ผู้ฝากเงินประเภทประจำ และออมทรัพย์จะได้รับประโยชน์จากธนาคารในด้านความปลอดภัยของเงินฝากควบคู่ไปกับการได้รายได้จากเงินฝากนั้นแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
9. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ( ธ. ก. ส.) มีระบบการธนาคารเป็นแบบใด
ก. ระบบธนาคารเดี่ยว ข. ระบบธนาคารสาขา
ค. ระบบธนาคารกลุ่ม ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
ตอบข้อ ข. ระบบธนาคารสาขา คือ ระบบของธนาคารที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่หนึ่ง มีสามขากระจายอยู่ในท้องถิ่นต่างๆ หรือในท้องถิ่นเดียวอาจมีสามขาของธนาคารมากกว่าหนึ่งแห่งก็ได้
10. ใครเป็นผู้มีอำนาจกำหนดอัตราดอกเบี้ยของธนาคาร
ก. รัฐบาล
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ค. ธนาคารแห่งประเทศไทย
ง. นายยกรัฐมนตรีโดยอิงอัตราในตลาดต่างประเทศ
ตอบข้อ ค. ธนาคารแห่งประเทศไทย มีอำนาจกำหนดอัตราดอกเบี้ย ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
11. ข้อใด มิใช่ ข้อเสียของระบบธนาคารสาขา
ก. มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีสาขาหลายแห่ง
ข. ก่อให้เกิดอิทธิพลผู้ขาดทางการเงิน
ค. การดำเนินงานเกิดความล่าช้าในเรื่องการสั่งการ
ง. ขาดการแข่งขัน
ตอบข้อ ก. ข้อเสียของระบบธนาคารสาขา
12. ธนาคารแห่งแรกที่มีขึ้นในประเทศไทย คือ ธนาคารใด
ก. ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ ข. ธนาคารออมสิน
ค. ธนาคารสแตนดาร์ดชาเตอร์ ง. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
ตอบข้อ ก. ประวัติของธนาคารพาณิชย์เริ่มขึ้นในประเทศอังกฤษ โดยชาวอิตาเลี่ยนทำหน้าที่เป็นนายธนาคาร สำหรับในประเทศไทย ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกแต่เป็นธนาคารสาขาของธนาคารต่างประเทศ
13. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ( ธ . ก. ส. ) ตั้งขึ้นในปีใด
ก. พ. ศ . 2490 ข. พ. ศ . 2509
ค. พ. ศ . 2500 ง. พ. ศ . 2519
ตอบข้อ ข. รัฐบาลได้จัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร( ธ . ก. ส. ) ตั้งขึ้นเมื่อปี พ. ศ . 2509 โดยให้เป็นสถาบันระดับชาติ ที่มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงมหาดไทย ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อให้เกษตรกรอย่างกว้างขวางทั้งในด้านเกษตรโดยตรง และสถาบันเกษตรกร
14. ธนาคารพาณิชย์ของคนไทยแห่งแรก คือ
ก. ธนาคารกรุงไทย ข. ธนาคารออมสิน
ค. ธนาคารไทยพาณิชย์ ง. ธนาคารนครหลวงไทย
ตอบข้อ ค. ธนาคารพาณิชย์ของคนไทยแห่งแรก คือ “ธนาคารไทยพาณิชย์ ”
15. ปัจจุบัน ธ . ก. ส. มีสาขาทั้งสิ้นกี่สาขา
ก. 495 สาขา ข. 595 สาขา
ค. 695 สาขา ง. 795 สาขา
ตอบข้อ ข. ปัจจุบัน ธ . ก. ส. มีสาขาทั้งสิ้น 595สาขา
16. โครงการฟื้นฟูและหักหนี้เกษตรกรรายย่อยและยากจน มีระยะเวลาดำเนินการตามข้อใด
ก. 1 เมษายน 2550 – 31 มีนาคม 2552
ข. 1 เมษายน 2551 – 31 มีนาคม 2553
ค. 1 เมษายน 2551 – 31 มีนาคม 2554
ง. 1 เมษายน 2552 – 31 มีนาคม 2554
ตอบข้อ ข.โครงการฟื้นฟูและหักหนี้เกษตรกรรายย่อยและยากจน มีระยะเวลาดำเนินการเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2551 – 31 มีนาคม 2553 รวม 2 ปี
17. เกษตรกรรายย่อย คือ เกษตรกรลูกค้าที่มีหนี้เงินต้นไม่เกินเท่าใด
ก. 50,000 บาท ข. 100,000 บาท
ค. 150,000 บาท ง. 200,000 บาท
ตอบข้อ ข. เกษตรกรรายย่อย หมายถึง เกษตรกรลูกค้าที่มีหนี้ต้นเงินกู้คงเหลือรวมกันทุกสัญญา ไม่เกิน 100,000 บาท
18. ข้อใด จัดเป็น สถาบันการเงินของรัฐ
ก. ธนาคารไทยพาณิชย์ ข. ธนาคารกรุงไทย
ค. ธนาคารนครหลวงไทย ง. ธนาคารกสิกรไทย
ตอบข้อ ข. สถาบันการเงินของรัฐ เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน ) เป็นต้น
19. ผู้ที่จะขอขึ้นทะเบียนหนี้นอกระบบจะต้องเป็นหนี้ไม่เกินเท่าไหร่
ก. 150,000 บาท ข. 200,000 บาท
ค. 250,000 บาท ง. 300,000 บาท
ตอบข้อ ข. ผู้ที่จะขอขึ้นทะเบียนหนี้นอกระบบจะต้องเป็นหนี้ไม่เกิน 200,000 บาท
20. ตามมาตรการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรลูกค้า 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ระบบอิสลาม ข้อใด มิใช่ พื้นที่เป้าหมายในมาตรการนี้ของ ธ. ก. ส.
ก. สตูล ข. ปัตตานี
ค. ยะลา ง. นราธิวาส
ตอบข้อ ก. พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส
ตารางเวลาในการสอบ พนักงานการเงิน ระดับ 4 ปีบัญชี 2558
วันที่สอบ เวลาที่สอบ วิชาที่สอบ สถานที่
21 ก.พ. 2559 09.00-10.30 น. #วิชาความรู้ความสามารถทั่วไป #มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
21 ก.พ. 2559 11.00-11.30 น. #วิชาความละเอียดแม่นยำ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
21 ก.พ. 2559 13.00-15.00 น. #วิชาความรู้เฉพาะตำแหน่ง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
21 ก.พ. 2559 15.30-16.30 น. #วิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ขอบเขตเนื้อหาในการสอบพนักงานการเงิน ระดับ 4 ปีบัญชี 2558
1. วิชาความรู้ความสามารถทั่วไป (Aptitude Test) ใช้เวลา 1.30 ชั่วโมง (100 คะแนน)
1.1 ความสามารถเชิงคณิตศาสตร์
1.2 การคิดวิเคราะห์และเหตุผล
1.3 ความสามารถทางด้านภาษาไทย
1.4 ความสามารถทางมิติสัมพันธ์
2. วิชาความรู้เฉพาะต าแหน่งพนักงานการเงิน ใช้เวลา 2.00 ชั่วโมง (100 คะแนน)
2.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการบัญชี (หมวดบัญชีการเงิน / หมวดบัญชีบริหาร)
2.2 ความรู้เกี่ยวกับการเงินการธนาคารและสินเชื่อเบื้องต้น (ตลาดการเงิน / ธุรกรรมการเงินและ
การธนาคาร / การบริหารการเงิน / ความรู้เกี่ยวกับสินเชื่อเบื้องต้น / ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน)
2.3 วิสัยทัศน์ / พันธกิจ และงานของ ธ.ก.ส.
2.4 ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
2.5 ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
2.6 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาชนบทและชุมชน
2.7 ความรู้เกี่ยวกับการตลาด
2.8 ความรู้ด้านหลักการบริหารเบื้องต้น
2.9 จริยธรรม/จรรยาบรรณ/ธรรมาภิบาล
3. วิชาภาษาอังกฤษ ใช้เวลา 1.00 ชั่วโมง (50 คะแนน)
4. วิชาความละเอียดแม่นย า ใช้เวลา 30 นาที (50 คะแนน)
ผู้เข้าสอบควรมาถึงสนามสอบเวลา 8.00 น. (พร้อมอยู่หน้าห้องสอบเวลา 8.30 น.)
1.1 ดินสอดำ 2B ขึ้นไป ยางลบ ทั้งนี้ผู้เข้าสอบต้องเตรียมดินสอให้เพียงพอต่อการเข้าสอบข้อเขียน
1.2 บัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรแสดงตนอื่น ๆ ที่มีรูปถ่ายซึ่งออกโดยส่วนงานราชการ และยังไม่หมดอายุ
1.3 ใบสมัครที่พิมพ์จากระบบ พร้อมติดรูปถ่าย (ภาพสี) หน้าตรงมีระยะเวลา ไม่เกิน 6 เดือน ขนาด 1x1.5 นิ้ว โดยสามารถพิมพ์
1.4 สำเนาพร้อมเอกสารตัวจริงในการเปลี่ยนชื่อ – สกุล (ถ้ามี)
2. ข้อปฏิบัติในการเข้าห้องสอบ
2.1 ห้าม นำกระเป๋าเครื่องเขียน กระเป๋าถือหรือกระเป๋าสัมภาระ เครื่องคำนวณทุกชนิด เครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด เข้าห้องสอบ
2.2 ห้าม นำนาฬิกาทุกชนิด เครื่องประดับทุกประเภทเข้าห้องสอบ ยกเว้น แว่นสายตา
3. ระเบียบการแต่งกายของผู้เข้าสอบ
2.3 ห้าม นำปากกา ดินสอกดทุกชนิด กบเหลาดินสอ เข้าห้องสอบ
3.1 ให้แต่งกายโดยสวมเสื้อยืดคอกลม/คอวี แขนสั้นหรือแขนยาว (ไม่มีกระดุม ไม่มีเครื่องประดับหรือวัสดุตกแต่งทุกชนิด
3.2 ห้าม สวมเสื้อสูท / เสื้อแจ็คเก็ต / เสื้อคลุมทุกชนิด / ผ้าคลุมทุกชนิด
3.3 ห้าม สวมรองเท้า/ถุงเท้าเข้าห้องสอบ
เพื่อความโปร่งใส และเป็นธรรมในการสอบข้อเขียน ผู้เข้าสอบต้องปฏิบัติตาม ข้อห้ามในการเข้าห้องสอบและระเบียบการแต่งกายของผู้เข้าสอบทุกประการ
และต้องศึกษารายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติมจากประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบข้อเขียน โดยธนาคารถือว่าผู้เข้าสอบข้อเขียนได้รับทราบข้อกำหนดต่างๆ
ในการเข้าห้องสอบตามประกาศของธนาคารแล้ว และยินยอมให้ธนาคารตรวจค้นเป็นการเฉพาะบุคคลได้ หากธนาคารมีข้อสงสัยที่คาดว่าอาจก่อให้เกิดการทุจริต
โดยผู้เข้าสอบจะอ้างสิทธิ์ใดๆ โต้แย้งมิได้ และกรรมการคุมสอบหรือผู้ประสานงานสอบสามารถพิจารณาให้เป็นผู้ไม่มีสิทธิ์สอบข้อเขียนทันที
แนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี
แนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)แนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
1. ข้อใด คือวิสัยทัศน์ของ ธ. ก. ส.
ก. เป็นธนาคารของชุมชน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทย
ข. เป็นธนาคารพัฒนาชุมชนเกษตรกรไทยอย่างถาวรและยั่งยืน
ค. เป็นธนาคารเพื่อการเกษตรที่พัฒนาสู่ระดับสากล เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรรายย่อย
ง. เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย
ตอบข้อ ง. วิสัยทัศน์ของ ธ. ก. ส. คือ “ เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย ”แนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
2. Payment Function คืออะไร
ก. หน้าที่รับฝากเงิน ข. หน้าที่จ่ายเงิน
ค. หน้าที่ให้กู้ยืม ง. หน้าที่ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
ตอบข้อ ข. “ หน้าที่จ่ายเงิน (Payment Function) หมายถึง การจ่ายคืนเงินแก่ผู้ฝาก ธนาคารพาณิชย์ที่รับฝากจากลูกค้าจะต้องเตรียมเงินส่วนหนึ่งไว้เพื่อการถอนคืนทุกขณะที่ลูกค้าต้องการด้วยการดำรงเงินสดสำรองไว้ ธนาคารพาณิชย์ที่สามารถจ่ายเงินคืนผู้คืนผู้ฝากได้ทุกครั้งนำมาซึ่งความเชื่อถือของผู้ฝากเงินซึ่งหมายถึงความไว้วางใจนำเงินฝากที่ธนาคารในอนาคต เพราะว่าธนาคารจะใหญ่ขึ้นหรือมีรายได้มากขึ้นเมื่อมีเงินฝากเพิ่มขึ้น เงินฝากจะเพิ่มขึ้นเมื่อธนาคารสามารถสร้างความเชื่อถือให้แก่ลูกค้าได้มากขึ้น ลูกค้าจะเชื่อถือธนาคารมากขึ้นเมื่อธนาคารมีหน้าที่การจ่ายคืนเงินฝากที่ดี ดังนั้น หน้าที่การจ่ายเงินที่ดีจะนำไปสู่ความมั่งคั่งแก่ธนาคารนั่นเอง ”
3. ข้อใด ไม่ใช่ ความหมายของ ธนาคารพาณิชย์
ก. ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ขึ้นตรงกับธนาคารแห่งประเทศไทย
ข. บริษัทมหาชนจำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ค. สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ง. ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อยแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
ตอบข้อ ก. ธนาคารพาณิชย์ หมายถึง บริษัทมหาชนจำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ และให้ความหมายรวมถึงธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย ธนาคารพาณิชย์ที่เป็นบริษัทลูกของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ และสาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์
4. ข้อใด มิใช่ หน้าที่ของธนาคารพาณิชย์
ก. รับฝากเงิน ข. หน้าที่จ่ายเงิน
ค. หน้าที่ให้กู้ยืมเงิน ง. หน้าที่ให้คำปรึกษาด้านการเงิน
ตอบข้อ ง. หน้าที่ของธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ 1. หน้าที่รับฝากเงิน 2. หน้าที่จ่ายเงิน 3. หน้าที่ให้กู้ยืมเงิน 4. หน้าที่ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
5. การฝากเงินประเภทกระแสรายวัน มีวัตถุประสงค์ตามข้อใด
ก. เพื่อความปลอดภัยในเงินฝาก
ข. เพื่อความสะดวกแก่ผู้ฝากเงินเมื่อต้องการจ่ายเงิน
ค. เพื่อก่อเกิดรายได้จากการรำเงินมาฝาก
ง. เพื่อช่วยให้การกู้ยืมเงินธนาคารง่ายขึ้น
ตอบข้อ ข. เพื่อสะดวกแก่ผู้ฝากเงินเมื่อต้องการจ่ายเงิน ผู้นำเงินฝากด้วยวัตถุประสงค์นี้มักฝากเงินประเภทกระแสรายวันที่จ่ายคืนด้วยเช็คแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
6. ธนาคารพาณิชย์มีแหล่งเงินได้กี่แหล่ง
ก. 2 แหล่ง ข. 3 แหล่ง
ค. 4 แหล่ง ง. 5 แหล่ง
ตอบข้อ ก. ธนาคารพาณิชย์มีแหล่งที่ได้มาของเงินใหญ่ๆ 2 แหล่ง คือ 1. ขากแหล่งเจ้าของ และ 2. จากแหล่งเจ้าหนี้ เงินที่ธนาคารพาณิชย์นำไปให้กู้ยืมหรือลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อก่อให้เกิดรายได้แก่ธนาคารส่วนใหญ่มาจากเงินฝาก เมือเงินฝากมีมากขึ้น ธนาคารสามารถนำไปหาผลประโยชน์ได้มากขึ้น ดังนั้น ธนาคารจะใหญ่ขึ้นเรื่องๆ เมื่อมีเงินฝากเพิ่มขึ้น
7. ข้อใด มิใช่ เหตุผลในการฝากเงินไว้กับธนาคาร
ก. เพื่อความสะดวกในการจ่ายเงิน
ข. เพื่อความปลอดภัยในเงินฝาก
ค. ใช้รายการบัญชีเงินฝากเป็นสถิติการรับ – จ่ายเงินของเจ้าของบัญชี
ง. ใช้รายการบัญชีเงินฝากเป็นหลักฐานเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ
ตอบข้อ ง. เหตุผลในการฝากเงินไว้กับธนาคารแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
1. เพื่อความสะดวกแก่ผู้ฝากในการจ่ายเงิน
2. เพื่อความปลอดภัยในเงินฝาก
3. เพื่อก่อให้เกิดรายได้จากการนำฝาก
4. เพื่อช่วยให้การกู้ยืมง่ายขึ้น
5. เพื่อใช้เป็นสถิติการรับ – จ่ายเงินของเจ้าของบัญชี
8. ข้อใด คือ เหตุผลในการฝากเงินประเภทเงินฝากประจำ
ก. เพื่อความปลอดภัยในเงินฝาก และความสะดวกในการจ่ายเงิน
ข. เพื่อก่อให้เกิดรายได้จากการนำฝาก และใช้เป็นสถิติการรับ – จ่ายเงิน
ค. เพื่อช่วยให้การกู้ยืมง่ายขึ้น และความสะดวกในการจ่ายเงิน
ง. เพื่อก่อให้เกิดรายได้ และความปลอดภัยในเงินฝาก
ตอบข้อ ง. ผู้ฝากเงินประเภทประจำ และออมทรัพย์จะได้รับประโยชน์จากธนาคารในด้านความปลอดภัยของเงินฝากควบคู่ไปกับการได้รายได้จากเงินฝากนั้นแนวข้อสอบ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตร)พร้อมเฉลยฟรี ข้อสอบเตรียมความพร้อมสอบเข้าธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร) แนวข้อสอบ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตร)
9. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ( ธ. ก. ส.) มีระบบการธนาคารเป็นแบบใด
ก. ระบบธนาคารเดี่ยว ข. ระบบธนาคารสาขา
ค. ระบบธนาคารกลุ่ม ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
ตอบข้อ ข. ระบบธนาคารสาขา คือ ระบบของธนาคารที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่หนึ่ง มีสามขากระจายอยู่ในท้องถิ่นต่างๆ หรือในท้องถิ่นเดียวอาจมีสามขาของธนาคารมากกว่าหนึ่งแห่งก็ได้
10. ใครเป็นผู้มีอำนาจกำหนดอัตราดอกเบี้ยของธนาคาร
ก. รัฐบาล
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ค. ธนาคารแห่งประเทศไทย
ง. นายยกรัฐมนตรีโดยอิงอัตราในตลาดต่างประเทศ
ตอบข้อ ค. ธนาคารแห่งประเทศไทย มีอำนาจกำหนดอัตราดอกเบี้ย ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
11. ข้อใด มิใช่ ข้อเสียของระบบธนาคารสาขา
ก. มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีสาขาหลายแห่ง
ข. ก่อให้เกิดอิทธิพลผู้ขาดทางการเงิน
ค. การดำเนินงานเกิดความล่าช้าในเรื่องการสั่งการ
ง. ขาดการแข่งขัน
ตอบข้อ ก. ข้อเสียของระบบธนาคารสาขา
12. ธนาคารแห่งแรกที่มีขึ้นในประเทศไทย คือ ธนาคารใด
ก. ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ ข. ธนาคารออมสิน
ค. ธนาคารสแตนดาร์ดชาเตอร์ ง. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
ตอบข้อ ก. ประวัติของธนาคารพาณิชย์เริ่มขึ้นในประเทศอังกฤษ โดยชาวอิตาเลี่ยนทำหน้าที่เป็นนายธนาคาร สำหรับในประเทศไทย ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกแต่เป็นธนาคารสาขาของธนาคารต่างประเทศ
13. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ( ธ . ก. ส. ) ตั้งขึ้นในปีใด
ก. พ. ศ . 2490 ข. พ. ศ . 2509
ค. พ. ศ . 2500 ง. พ. ศ . 2519
ตอบข้อ ข. รัฐบาลได้จัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร( ธ . ก. ส. ) ตั้งขึ้นเมื่อปี พ. ศ . 2509 โดยให้เป็นสถาบันระดับชาติ ที่มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงมหาดไทย ทำหน้าที่อำนวยสินเชื่อให้เกษตรกรอย่างกว้างขวางทั้งในด้านเกษตรโดยตรง และสถาบันเกษตรกร
14. ธนาคารพาณิชย์ของคนไทยแห่งแรก คือ
ก. ธนาคารกรุงไทย ข. ธนาคารออมสิน
ค. ธนาคารไทยพาณิชย์ ง. ธนาคารนครหลวงไทย
ตอบข้อ ค. ธนาคารพาณิชย์ของคนไทยแห่งแรก คือ “ธนาคารไทยพาณิชย์ ”
15. ปัจจุบัน ธ . ก. ส. มีสาขาทั้งสิ้นกี่สาขา
ก. 495 สาขา ข. 595 สาขา
ค. 695 สาขา ง. 795 สาขา
ตอบข้อ ข. ปัจจุบัน ธ . ก. ส. มีสาขาทั้งสิ้น 595สาขา
16. โครงการฟื้นฟูและหักหนี้เกษตรกรรายย่อยและยากจน มีระยะเวลาดำเนินการตามข้อใด
ก. 1 เมษายน 2550 – 31 มีนาคม 2552
ข. 1 เมษายน 2551 – 31 มีนาคม 2553
ค. 1 เมษายน 2551 – 31 มีนาคม 2554
ง. 1 เมษายน 2552 – 31 มีนาคม 2554
ตอบข้อ ข.โครงการฟื้นฟูและหักหนี้เกษตรกรรายย่อยและยากจน มีระยะเวลาดำเนินการเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2551 – 31 มีนาคม 2553 รวม 2 ปี
17. เกษตรกรรายย่อย คือ เกษตรกรลูกค้าที่มีหนี้เงินต้นไม่เกินเท่าใด
ก. 50,000 บาท ข. 100,000 บาท
ค. 150,000 บาท ง. 200,000 บาท
ตอบข้อ ข. เกษตรกรรายย่อย หมายถึง เกษตรกรลูกค้าที่มีหนี้ต้นเงินกู้คงเหลือรวมกันทุกสัญญา ไม่เกิน 100,000 บาท
18. ข้อใด จัดเป็น สถาบันการเงินของรัฐ
ก. ธนาคารไทยพาณิชย์ ข. ธนาคารกรุงไทย
ค. ธนาคารนครหลวงไทย ง. ธนาคารกสิกรไทย
ตอบข้อ ข. สถาบันการเงินของรัฐ เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน ) เป็นต้น
19. ผู้ที่จะขอขึ้นทะเบียนหนี้นอกระบบจะต้องเป็นหนี้ไม่เกินเท่าไหร่
ก. 150,000 บาท ข. 200,000 บาท
ค. 250,000 บาท ง. 300,000 บาท
ตอบข้อ ข. ผู้ที่จะขอขึ้นทะเบียนหนี้นอกระบบจะต้องเป็นหนี้ไม่เกิน 200,000 บาท
20. ตามมาตรการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรลูกค้า 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ระบบอิสลาม ข้อใด มิใช่ พื้นที่เป้าหมายในมาตรการนี้ของ ธ. ก. ส.
ก. สตูล ข. ปัตตานี
ค. ยะลา ง. นราธิวาส
ตอบข้อ ก. พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส